ลําดับที 58 Regional Hub of Integrated Breeding Platform การปรับปรุงพันธุ์พืชประกอบด้วยกิจกรรมหลายขั้นตอน ต ตั้ ง แต่ ก ารวางแผน การผสม การเพาะปลู ก การคั ด เลื อ ก การเก็ บ ข้ อ มู ล และการวิ การวิ เ คราะห์ เพื่ อ ตั ด สิ น ใจเลื อกวิ ธี ก าร ปรับปรุงพันธุ์ที่เหมาะสม ใช้ข้ข้อมูลจํานวนมากในการบริ นวนมาก หาร จั ด การ จึ ง จํ า เป็ น ต้ อ งมี เ ครื่ อ งมื อ ช่ ว ยในการจั ด การและ เชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ระหว่ า งนั ก ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ เพื่ อ สื บ ค้ น ประมวลผล และนํา ข้อมูล กลั บ มาใช้ ใหม่ไ ด้อย่า งเป็น ระบบ และมีประสิทธิภาพ ระบบ Breeding Management System หรือ BWS ที่พัฒนาโดย The Integrated Breeding Platform of Generation Challenge Program (GCP) เป็นระบบ การจัดการงานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช ตั้งแต่การจัดการ พั น ธุ ก รรมพื ช การสร้ า งคู่ ผ สม การหาตํ า แหน่ ง ของยี น เพื่อการคัดเลือก การวางแผนงานวิจัย การประเมินลักษณะ ทางการเกษตร การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และการตัดสินใจ โดยรวมซอฟต์แวร์และฐานข้อมูลของพืชสําคัญทางเศรษฐกิจ เช่ น ข้ า ว มั น สํ า ปะหลั ง ข้ า วโพด ข้ า วฟ่ า ง ข้ า วสาลี ถั่ ว ประกอบด้วยข้อมูลฟีโนไทป์ ข้อมูลจีโนไทป์ พันธุ์ประวัติ และ ข้อมูลเครื่องหมายโมเลกุล ที่ออกแบบให้มีความจํ วาม าเพาะกับ พื ช แต่ ล ะชนิ ด นํ า ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ การปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ พื ช แบบมาตรฐาน การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล ช่วยในการคัดเลือก สําหรับการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมาย โมเลกุลช่วยในการคัดเลือกร่วมกั วมกับการผสมกลับ ปัจจุบัน อยู่ระหว่างปรับปรุงระบบ และให้นักปรับปรุงพันธุ์พืชทดลอง ใช้ เพื่อให้ข้ อเสนอแนะต่ต่ อการปรั การป บ ปรุ ง ซอฟต์แ วร์ใ ห้ ดียิ่ งขึ้ น (รายละเอียดใน https://www.integratedbreeding.net) https://www.integratedbreeding.net ต่อด้านหลัง ฝ่ ายบริหารคลัสเตอร์ และโปรแกรมวิจยั (CPM) โทร. 02 564 6700 ต่ อ 3442 (ศิริพร) e-mail : [email protected] siriporn@ จัดทํา ส.ค. 57 ลําดับที 58 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศู น ย์ พั น ธุ วิ ศวกรรมและเทคโนโลยี ชี วภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) ได้รับการแต่งตั้งจาก GCP ให้เป็น ศูนย์กลางของภูมิภาคในการส่งเสริมการใช้ซอฟต์แวร์ BWS ในภูมิภาคอาเซียน โดยเตรียมโครงสร้ งสร้างพื้นฐาน และบุคลากร Technical Support Coordinator, Capacity Building Coordinator, Breeding Facilitator สําหรับการดําเนินงาน ดังกล่าว พร้อมทั้งผลักดันให้เกิดการเชื่อมโยงและจัดเก็บข้อมูล งานวิ จั ย ด้ า นพื ช อย่ า งเป็ น ระบบ โดยเริ่ ม จากข้ า ว อ้ อ ย มันสําปะหลัง และพืชผักต่างๆ เป็นต้น การดําเนินงานช่ช่วงแรก เน้นการอบรมเพื่อแนะนํา การใช้ระบบให้ห้นักปรับปรุงพันธุ์พืชทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในประเทศไทย ประกอบด้วย 3 Module ได้แก่ 1) Data Management เป็นการแนะนําระบบซอฟต์แวร์ BWS และการจัดการงานวิจัยด้านปรับปรุงพันธุ์ เช่น ฐานข้อมูลพันธุกรรมพืช การสร้างคู่ผสม การวางแผน งานทดลอง 2) Statistics Analysis การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อการวิเคราะห์ งานทดลองการเกษตร 3) Molecular Breeding การใช้ซอฟต์แวร์ในการตัดสินใจ เพื่ อ การคั ด เลื อ ก ทั้ ง วิ ธี ม าตรฐาน าตรฐา และการใช้ เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกพันธุ์ (Marker assisted selection) สํ า หรั บ ระยะต่ อ ไป หน่ วยปฏิ บั ติ ก ารค้ น หาและ ใช้ประโยชน์ ประโยชน์ยีนข้าว หน่วยฝึกอบรม ไบโอเทค และฝ่ายบริหาร คลัสเตอร์และโปรแกรมวิจัย สวทช. สวทช จะจัดอบรมการใช้ระบบ ให้นักปรับปรุงพันธุ์พืชในภูมิภาค ฝ่ ายบริหารคลัสเตอร์ และโปรแกรมวิจยั (CPM) โทร. 02 564 6700 ต่ อ 3442 (ศิริพร) e-mail : [email protected] siriporn@ จัดทํา ส.ค.57
© Copyright 2025 ExpyDoc