◎根底から創り上げる飽くなき技術力/ 下請けでは終わらない 「部品屋」 の挑戦/ CASTEM (THAILAND) CO., LTD. 代表取締役社長 戸田 拓夫 Mr.Takuo Toda 氏 CASTEM (THAILAND) CO., LTD. ※ メタルインジェクション工場 ロウ (蝋) を使って鋳型を得る 「ロストワック み重ねだけでは不可能なのは誰でも分かる。なら キャステムには累積2000社という、途方もない顧 ス」製法と、金属粉を含有したコンパウンドを ば、 どうすればいいか。付加価値の高い仕事を創り 客とのネットワークがある。 これまで出会うことのな 射出して形成する 「メタルインジェクション」 上げていくには。未開の地を掘り起こしていくには。 かったメーカーとメーカーが、新たな商品開発の場 製法の2つの製法を駆使して、医療機器・工作 「こういうものが作りたい」 と顧客が切り出しても、 で手を組んだっていい。相互に補完し合ってもい 機械といった産業機械部品らファスナー、 バッ 金型が高価なところで結局、諦めてしまうのが現状 い。そうした出会いの場を提供したい。それが「部品 グの金具といった雑貨用品まで幅広く金属部 だ。そうではない。顧客と共に考える。デザインも一 屋」が勝ち残る道と考える。そういう時期に来ている 品の製造供給を行っているのが、広島県福山 緒に始めから考える。根底から創り上げようという飽 と心から信じている。 「部品メーカーが下請けで終わ 市のキャステム (戸田拓夫社長) 。1970年の創 くなき追求力。 これが、 この業界で何よりも必要なこ っていてはダメだ」 業は、間もなく半世紀を迎える。 プライドと誇 とと考えている。 「機械を操作するだけが仕事と思っ りを持った職人集団。その高い技術と根底か ていたら大間違いだ」 「菓子製造業からのスタート」 ら創り上げようとする飽くなき追求力は、 ライ 組立メーカーをトップに、ティア1、ティア2と連な 創業時のメインの事業が「菓子製造」 と聞いて、驚 バル他社からも一目置かれる存在だ。技術に るサプライチェーン。得てして「部品屋」はこの巨大 く人も多いに違いない。 クッキーにカステラ、 まんじ かける思いについて、 戸田社長に話を聞いた。 な網の目の一区画に位置づけられ、埋もれてしま ゅう…。戸田社長の父だった創業者が独り身で起こ う。だが、 「もはや、 そんな時代ではない」が戸田社長 したものだ。戦時中、満州開拓義勇軍の機械修理班 の考えだ。強い商品力、高い企画力を持ってすれ で活躍していた父。圧倒的な生産力の差の前に、 「精 ば、 これまで元請けだった顧客と顧客を結びつける 密鋳造技術がないと国は成長できない」 と痛感し ことだって可能ではないか。新しい商品を提案する た。技術を元に造っていくのは、工業品も菓子も原理 ことだってできるのではないか。 は同じ。 キャステムの原点はこんなところにあった。 「部品屋」が勝ち残る道 「他社がやりたがるものは深追いしない。他社が やりたがらないものをうちがやる。少し厄介なもの がいい。それが社是」。 こう戸田社長が言い切るとお り、キャステムの受注は多品種少ロットのものが多 い。量産品よりも希少性の高い高級品、特注品。結 果、それが技術力の向上、ひいては社の成長につな きれいな肌を持つキャ ステムのメタルインジ ェクションは、歯車・カ ム・ローレート等をシャ ープに仕上げます。 細かいもの・薄い物は 得意とするところで、従 来にないデザインが可 能です。 がると考えているからだ。 2035年を目標年とした「キャステム2035年構想」 では、 グループの年間売上高を現在の20倍、1000億 円に置く。冷ややかに揶揄する声もあるというが、 ブ レは全く感じさせない。到達まであと20年。現状の積 小さな物、複雑な形状 小さな穴・異形の穴・袋 になるほど、 キャステム 穴等、高精度できれい のメタルインジェクシ に仕上がります。 ョンは強みを発揮しま す フィリピン・タイ、 そしてコ ロンビアへ バブル崩壊後の90年代半ばか らは、積極的に海外展開を進め て い る 。9 5 年 に は フィリ ピ ン、2002年にはタイに進出。縮小 の続く日本市場。 長期的に考えた 時、当然の帰結だった。今では両 国にそれぞれ2つの法人を置い CASTEM (SIAM) CO.,LTD. ※ ロストワックス精密鋳造工場 て、ロストワックス製法とメタル インジェクション製法の各ライン 「メタルインジェクション」 との出会い を稼働させている。当時、中国を目指した企業が多く 二度目の転機は、それから数年後に訪れた。原田 あったが、反日リスクを考えると絶対に選ぶことはで 知世主演の映画「私をスキーに連れてって」が爆発 きなかった。 的なヒットを遂げた80年代末。 日本各地のスキー場 海外工場だからといって、 妥協は一切許されない。 では、ある鋳造品をめぐって静かなブームに沸いて 常にそういう姿勢で臨んでいる。 「我社は品質と納期 いた。 リフトを吊るすアームとケーブルの連結部品 で勝負する」 と戸田社長。本格的な世界進出を考えた には、安全面から長らく鍛造品が用いられてきた。 時の譲れない一線だった。現在は南米コロンビアに その父が菓子屋を兄に託し、精密鋳造会社を立ち そこにキャステムが開発した新型の鋳造部品が市場 新たに工場を建設中。 米ヒューストンに現地販売法人 上げたのは1970年のことだった。当時、 日本は先進 投入され、一気に切り替わったのだった。 を設立し、 アメリカ本土の市場を狙う。主要なターゲ 国の仲間入りをしようと、 工業化に力を入れていた。 キャステムが開発した鋳造部品には、史上最高の ットに医療機器業界や航空宇宙業界がある。 ライバルメーカーは乱立。厳しい経営が続いてい 強度と靭性を誇るとされるSNCM439が使われてい 総合部品メーカー社長のほかに、 「折り紙ヒコーキ た。 そんな時、父が決断した。高校生だった息子の現 た。ニッケル、 クロム、モリブデンが付加された複合 協会会長」 という異色の肩書きを持つのが戸田社長 社長を呼び寄せて、 こう言った。 「品質に活路を求め 素材。同社の高い技術力を知った商社が仲介役を果 だ。学生時代に身体を壊し、病臥にいた時のこと。400 るなら、科学技術にこだわらなくてはならない。お たした。 この大量注文をきっかけに、キャステムの名 種の折り紙飛行機を考案し、見舞い客を驚かせた。 「 前、大学では化学を専攻しろ」 は全国へと浸透をしていった。製造業に限らず装飾 ヒコーキにしても、 グライダーや凧にしても、空気をう 戸田社長が父の会社に入社したころ、キャステム 品など、業種を問わず注文が舞い込むようになった まく掴み、音も立てずに飛んでいく。 まさに技術の結 は大きな転機を迎えていた。従来からの繊維産業が のは、 これ以降のことだった。 晶。一枚の紙を技術のみで作り上げていく、その過程 減速し新しい分野としてコンピュータ用部品として 90年代に入ると、産業界では、 より極小の精密部 にのめり込んだ」 ボイスコイルモータ (VCM) を大量生産できないか、 品の需要が増すようになっていった。あまりの小サ 2008年のリーマンショックでは、キャステムも並な との依頼が舞い込んだのだった。ほぼ初めてに近い イズのため、鋳造ではとても太刀打ちできない。 「く らぬ損害を計上した。社内に漂う重たいムード。何と まとまった注文。ただ、予算は見積の半値と条件は しゃみをすれば、消えてしまいそうなものばかりだっ かこれを打破したいと思った時に考えたのが、折り紙 厳しかった。受けるか、受けざるべきか。新たなリー た」 と戸田社長。きっかけを得ようと、射出成形の技 飛行機の滞空時間のギネスブック記録を破ることだ ダーとなった戸田社長(当時は部長)の出した答え 術を視察しにアメリカに渡った。 確立されたばかりの った。 「停滞を打ち破る原動力は、技術でなければな は明快だった。 「やってみようじゃないか」 。見事なま 新技術 「メタルインジェクション」 との出会いだった。 らない」。そう信じた戸田社長が出した記録は29.2 での決断だった。 革命的な技術だった。だが、知的財産権があり、 そ 秒。従来の世界記録27.6秒を大きく上回り、未だにこ 夜を徹して試作を繰り返す。一つ、 また一つとハー のままでは日本に持ち込めない。 そこで、 戸田社長は の記録は破られていない。 ドルがクリアされていく。 コストダウンに成功し、 どう 自社開発を決断。91年に米国特許を取得し、 日本で パワーでは勝てないから、投法を工夫した。握る部 にか利益が出せると分かって来た時、 その高い性能 の生産を開始した。核となるのは、かつて先代の社 分を極限の5ミリまで落とした。たかが、紙ヒコーキ。 への評価から受注量は1万個から3万個へと増えて 長が腐心した原材料の化合混合技術。 粉末状の金属 されど、紙ヒコーキ。 「少しの曲がりや折れが、空気を いった。 こうして、 ロストワックス製法を採り入れたキ 粉とバインダーを混ぜ合わせ、 射出成型し、 脱脂焼結 掴んでは胴体を浮上させる。 これぞ技術の醍醐味」 。 ャステムの製品は市場へと広くお目見えをしていっ し目的に合った硬度・強度の部品を創り上げる応用 キャステムの戸田社長が技術にこだわる所以だ。 た。80年代前半。会社の大きな転換期だった。 技術だった。 CASTEM (THAILAND) CO., LTD. 968 Moo 5, Soi Soonthornwasu, Pheakasa Road, Tambol Pheakasa-mai, Amphur Muangsamutprakarn, Samutprakarn 10280 Tel. 02-324-3027-9 楠田 098-827-4278 [email protected] 大木 098-260-9206 [email protected] CASTEM (SIAM) CO., LTD. Amata Nakorn Industrial Estate (Phase 4) 700/408 Moo 7, Tambol Donhuaroh, Amphur Muangchonburi,Chonburi 20000 Tel. 038-717-402-3 Close Up MANUFACTURING INDUSTRY สร้างวิทยาการอันยอดเยี่ยมโดยเริ่มต้นจากศูนย์/ มุง่ สูก่ ารเป็น ‘ผูผ ้ ลิตชิน้ ส่วน’” ทีย่ นื หยัดได้ดว้ ยตัวเอง/ CASTEM (THAILAND) CO., LTD. บริษทั CASTEM (ประธานบริษทั – คุณโทดะ ทาคุโอะ) ถือก�ำเนิดทีเ่ มืองฟุคยุ ามะ จังหวัด ฮิโรชิมา่ ตัวบริษทั นัน้ โดดเด่นเรือ่ งการใช้กรรมวิธกี ารผลิตสองประเภทอันเป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ การหล่อด้วยแบบที่ท�ำจากขี้ผึ้ง หรือ “Lost-wax Casting” และการฉีดขึ้นรูปโลหะผง หรือ “Metal Injection” ได้อย่างช�ำนาญ ท�ำให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์โลหะได้อย่างหลากหลาย ไม่ ว่าจะเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรทั่วไป ชิ้นส่วนรถยนตร์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ไปจนถึงของเบ็ดเตล็ด เช่นซิป ตัวยึดสแตนเลสที่ใช้ในกระเป๋า และอื่นๆ อีกมากมาย ตัวบริษัทก่อตั้งขึ้นในปี 1970 และ ก�ำลังจะมีอายุครบห้าสิบปี ในส่วนของพนักงานนั้นมีความภาคภูมิใจในตัวองค์กรเป็นอย่างสูง และเทคนิคอันยอดเยี่ยมที่ทางบริษัทคิดค้นขึ้นเองจากศูนย์ ท�ำให้ CASTEM เป็นบริษัทชั้นน�ำที่ แม้แต่เหล่าบริษัทคู่แข่งก็ยังต้องยกนิ้วให้เลยทีเดียว ในบทความนี้เรายังสอบถามเรื่องที่มาของ แรงบันดาลใจต่างๆ และความมุ่งมั่นในการพัฒนาเทคนิคใหม่ๆ กับท่านประธานโทดะโดยตรง เส้นทางสู่ชัยชนะของ “บริษัทผลิตชิ้นส่วน “สิ่งที่บริษัทอื่นท�ำ เราจะไม่ท�ำ ส่วนสิ่งที่ บริษัทอื่นไม่อยากท�ำ เราจะท�ำเอง เรายินดีท�ำทุก อย่างที่ต้องลงแรง นั่นแหละคือนโยบายของบริษัท เรา” คือค�ำกล่าวของท่านประธานโทดะ และก็เป็น อย่างทีท่ ่านว่าจริงๆ เพราะผลิตภัณฑ์ที่ CASTEM รับ ผลิตนัน้ มีหลากหลายประเภททีม่ ขี นาดล็อตค่อนข้าง เล็ก ทางบริษทั จะไม่ผลิตอะไรทีละมากๆ แม้จะท�ำให้ มีโอกาสได้ยอดขายสูงกว่าก็ตาม แต่จะเลือกผลิต สินค้าราคาสูงทีห่ าได้ยากและสินค้าสัง่ ท�ำพิเศษแทน ซึ่งส่งผลให้เทคนิคในการผลิตยิ่งพัฒนาขึ้น จนน�ำไป สู่การเติบโตของตัวบริษัทในที่สุด “แผน CASTEM 2020” ที่บ ริษั ท ใช้ เ ป็ น แนวทางอยูใ่ นปัจจุบนั นัน้ ระบุไว้วา่ เป้าหมายหลักคือ การเพิ่มยอดขายต่อปีของบริษัทในกลุ่มขึ้นเป็น 20 เท่าของปัจจุบัน หรือเท่ากับหนึ่งแสนล้านเยน โดยมี ปี 2020 เป็นปีเป้าหมาย แม้จะมีเสียงหยอกเย้าอยู่ บ้างว่าไม่น่าจะเป็นจริงได้ แต่ทุกคนกลับไม่มีทีท่าว่า จะล้มเลิก แม้ว่าขณะนี้เหลือเวลาอีกเพียง 5 ปีก่อน จะถึงปีที่ก�ำหนด โดยสถานการณ์ในปัจจุบัน ไม่ว่า ใครก็คงเห็นได้ชัดว่าเป้าหมายนั้นเป็นไปไม่ได้ ถ้า อย่างนัน้ บริษทั ควรจะท�ำอย่างไรดีล่ะ จึงจะสามารถ บุกเบิกพื้นที่ที่ไม่มีบริษัทใดเคยเข้าถึง และสร้างงาน ที่มีราคาสูงยิ่งกว่าที่เคยมีมาได้? “ปัจจุบัน มีอยู่หลายบริษัทที่ไม่สามารถ สร้ า งผลิต ภั ณ ฑ์ ต ามความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ เนือ่ งจากการสร้างแม่พมิ พ์นนั้ ต้องใช้ทนุ มาก สุดท้าย จึงบอกปัดงานไป แต่นั่นไม่ใช่สิ่งที่ CASTEM ท�ำ สิ่งที่ เราท�ำคือการคิดและวางแผนงานออกแบบทั้งหมด ร่วมกับลูกค้าตัง้ แต่ต้น มีความมุ่งมัน่ ในการสร้างทุก อย่างขึ้นจากศูนย์ นี่แหละคือสิ่งที่ผมคิดว่าส�ำคัญ ที่สุดในวงการนี้ บางคนอาจคิดว่างานของพนักงาน ก็แค่ควบคุมเครื่องจักรเฉยๆ ซึ่งนั่นเป็นวิธีคิดที่ผิด อย่างยิ่ง” คนทั่วไปอาจมองว่า ภายในห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) ขนาดมหึมา ที่มีบริษัท assembly ขนาดใหญ่อยูบ่ นสุดนัน้ “บริษทั ผลิตชิน้ ส่วน” ธรรมดาๆ ก็เป็นเพียงห่วงโซ่เล็กๆ ทีม่ คี วามส�ำคัญเพียงน้อยนิด ต่อภาพรวมทัง้ หมด แต่ท่านประธานโทดะเชื่อว่า “นี่ ไม่ ใ ช่ ยุ ค สมั ย แบบนั้ น แล้ ว ” ถ้ า หากบริ ษั ท เล็ ก ๆ สามารถสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพดี เ ยี่ ย ม มีการวางแผนอนาคตอย่างรัดกุม และใช้ความเชือ่ ม โยงกับเครือข่ายลูกค้าปัจจุบนั ให้เป็นประโยชน์ ก็ยอ่ ม สามารถคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และยืนหยัดด้วย ก�ำลังของตัวเองได้ไม่ใช่หรือ ปัจจุบนั บริษทั CASTEM มีเครือข่ายอันกว้าง ขวางกว่ า 2000 บริ ษั ท ซึ่ ง ท่ า นประธานเชื่ อ ว่ า การที่เหล่า “บริษัทผลิตชิ้นส่วน” จะอยู่รอดต่อไปได้ นัน้ สิง่ จ�ำเป็นคือการหาสถานทีท่ พี่ วกเขาทีไ่ ม่เคยพบ กันมาก่อน เพื่อโอกาสในการพบปะและร่วมมือกัน พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ใช้จดุ แข็งของแต่ละบริษทั ส่ง เสริมกันเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้แก่ทั้งสองฝ่าย ท่านเชื่อว่ายุคสมัยเช่นนั้นก�ำลังจะมาถึง “ผู้ผลิตชิ้น ส่วนจะเอาแต่รอรับงานจากคนอื่นอย่างเดียวไม่ได้ อีกต่อไป” เริ่มต้นจากโรงงานผลิตขนม หลายคนคงตกใจ เมือ่ ได้ร้วู ่าธุรกิจหลักของ CASTEM สมัยก่อตัง้ บริษัทใหม่ๆ นั้น คือ “การผลิต ขนม” ทั้งคุกกี้ ขนมเค้ก และมันจู โดยคุณพ่อของ ท่านประธานโทดะซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทเป็นคนริเริ่ม ด�ำเนินการทัง้ หมด ในช่วงสงครามโลก ท่านถูกส่งไป ท�ำงานในโรงงานผลิตอาวุธ ซึ่งการแพ้สงครามของ ญี่ปุ่นในตอนนั้นก็ท�ำให้ท่านได้ตระหนักว่า “ถ้าไม่มี เทคนิค precision casting ที่ดีในการผลิต ประเทศก็ ไม่อาจเติบโตได้” ไม่วา่ จะเป็นขนมหรือสินค้าอุตสาห กรรมใดๆ หั ว ใจส� ำ คั ญ ในการผลิ ต ก็ คื อ การใช้ “เทคนิ ค ” ซึ่ ง เป็ น พื้น ฐานเดี ย วกั น จึ ง กลายเป็ น แนวคิดหลักของ CASTEM มาจนปัจจุบัน ในช่วงปี 1970 คุณพ่อของท่านประธานได้ มอบงานร้านขนมให้กบั น้องชาย ก่อนจะก่อตัง้ บริษทั precision casting ขึ้น ในตอนนั้น รัฐบาลญี่ปุ่นได้ ให้การสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมอย่างเต็มที่ เพือ่ ที่ จะได้รับการยอมรับในฐานะประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยเหตุนี้บริษัทคู่แข่งจึงถือก�ำเนิดขึ้นมามากมาย และการด�ำเนินกิจการก็เป็นไปอย่างยากล�ำบาก ในตอนนัน้ เองท่านก็ตดั สินใจเรียกท่านประธานซึง่ ยัง เป็ น เด็ ก นั ก เรี ย นมั ธ ยมเข้ า ไปหา แล้ ว กล่ า วว่ า “ถ้าบริษัทเราจะเน้นคุณภาพ ก็จะต้องเริ่มจากการ คัดเลือกวัตถุดบิ ให้เป็นก่อน ดังนัน้ เมือ่ เข้ามหาวิทยาลัย พ่ออยากให้ลูกเลือกเรียนเคมีเป็นวิชาเอกด้วย” ช่วงทีท่ า่ นประธานโทดะเข้าท�ำงานในบริษทั ของพ่อ ทางบริษัทก็ก�ำลังเดินทางมาถึงจุดเปลี่ยน ครั้งใหญ่ มีค�ำขอจากลูกค้ารายหนึ่งส่งเข้ามาเพื่อ ต้องการให้ช่วยผลิต Voice Coil Motors ส�ำหรับใช้ใน คอมพิวเตอร์จำ� นวนมาก เป็นออเดอร์ทใี่ หญ่กว่าครัง้ ไหนๆ ทีเ่ คยรับมาก่อน แต่งบประมาณการผลิตทีท่ าง ลูกค้าค�ำนวณไว้นนั้ น้อยมาก (ประมาณครึง่ หนึง่ ของ ที่บริษัทประมาณไว้) เรียกได้ว่าเงื่อนไขทุกอย่างบีบ คัน้ เหลือเกิน ยากทีจ่ ะตัดสินใจว่าจะรับผลิตดีหรือไม่ แต่สุดท้ายแล้วคุณพ่อของท่านประธานก็ให้ค�ำตอบ อย่างชัดเจนไปว่า “ก็ลองผลิตดูส”ิ นัน่ คือการตัดสินใจ อย่างเด็ดขาดของท่าน หลังจากรับออเดอร์มาแล้ว พนักงาต้อง ท�ำงานกันอย่างหามรุ่งหามค�่ำ ลองถูกลองผิดครั้ง แล้วครัง้ เล่าเพือ่ หาวิธกี ารผลิตทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ และ หลั ง จากฝ่ า ฟั น อุ ป สรรคทั้ ง หมดมาได้ ในที่ สุ ด ก็ สามารถลดต้นทุนการผลิตจนมีก�ำไรจากงานครั้งนี้ ได้ส�ำเร็จ นอกจากนี้ความสามารถในการผลิตที่ พัฒนาขึ้นในตอนนั้นก็ยังเป็นที่ประทับใจของลูกค้า จนส่งผลให้จ�ำนวนสินค้าที่ออเดอร์เพิ่มขึ้นจากหนึ่ง Mr.Somjit Sompukdee Castem’s employee กรรมวิธี Metal Injection ของ CASTEM ท�ำให้ได้ออก มาเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลาย หลายที่มีพื้นผิวสวยงาม ไม่ ว่าจะเป็นเฟือง ลูกเบี้ยว และ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ การผลิตทีม่ คี วามแม่นย�ำสูง ท�ำให้สามารถผลิตวัตถุทมี่ รี ู เล็กๆ หรือมีรูรูปร่างต่างๆ กันได้อย่างสมบูรณ์แบบ ทางบริ ษั ท เชี่ ย วชาญการ ผลิตวัตถุที่ละเอียด หรือมี ความบางมาก รวมถึงการ ผลิตของทีม่ รี ปู ร่างต่างจาก แบบทั่วไปด้วย กรรมวิธี Metal Injection ของ CASTEM นั้น เหมาะ กั บ การหล่ อ ของที่ มี ข นาด เล็ก หรือมีรูปร่างซับซ้อน เป็นที่สุด หมื่นเป็นสามหมื่นชิ้นเลยทีเดียว ด้วยเหตุน้ี กรรมวิธี Lost-wax Casting จึงกลายมาเป็นวิธหี ลักของบริษทั CASTEM และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นก็แพร่กระจายใน ตลาดจนเป็นที่รู้จักไปทั่ว ช่วงต้นยุค 80 นั้น ถือได้ว่า เป็นหนึ่งในจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญที่สุดของทางบริษัท อย่างแท้จริง จุดเปลี่ยนจุดที่สองเกิดขึ้นหลายปีหลังจาก นัน้ ในช่วยปลายยุค 80 ภาพยนตร์เรือ่ ง “Please Take Me Skiing” น�ำแสดงโดยฮาราดะ โทโมโยะ ได้รับ ความนิยมอย่างล้นหลาม ส่งผลให้ลานสกีทั่วญี่ปุ่น ได้รบั ความนิยมมากขึน้ ตามไปด้วย และผลิตภัณฑ์ที่ ลานสกี ทั่ ว ประเทศต่ า งต้ อ งการคื อ ตั ว เชื่ อ มต่ อ ระหว่างแขนและสายเคเบิลส�ำหรับแขวนลิฟต์ในลาน สกี ซึ่งจะต้องมีความทนทานสูงและใช้ติดต่อกันได้ เป็นระยะเวลายาวนาน ในตอนนัน้ เองผลิตภัณฑ์หล่อ แบบใหม่ที่ทาง CASTEM พัฒนาขึ้นก็บุกเข้าสู่ตลาด และประสบความส�ำเร็จในการแทนทีช่ นิ้ ส่วนแบบเก่า อย่างสิ้นเชิง SNCM439 ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ที่ทาง CASTEM คิดค้นขึ้นนั้น มีระดับความแข็งแรงทนทาน สูงทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีมา โดยวัตถุดบิ ทีถ่ กู เพิม่ เติมเข้าไป ในส่วนผสม ได้แก่นกิ เกิล โครเมียม และโมลิบดีนัม ชื่อเสียงเรื่องเทคนิคอันดีเยี่ยมของบริษัทเริ่มเป็นที่ รู้จักในวงกว้าง ท�ำให้มบี ริษัทการค้าเสนอตัวมาเป็น เอเจนซี่ ผ่านไปไม่นานจ�ำนวนออเดอร์ทพี่ งุ่ สูงก็สง่ ผล ให้เป็นชื่อที่รู้จักกันไปทั่วประเทศ ไม่ใช่เพียงในกลุ่ม อุตสาหกรรมการผลิตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงกลุ่ม บริษัทเครื่องประดับและกลุ่มอื่นๆ ด้วย จากนั้น เป็ น ต้ น มาทางบริ ษั ท ก็ ไ ด้ รั บ ออเดอร์ จ ากลู ก ค้ า มากมายในหลายๆ วงการ พบกับ ‘Metal Injection’ เมื่อเข้าสู่ยุค 90 ความต้องการผลิตภัณฑ์ ประเภท precision part ขนาดเล็กเริ่มเพิ่มสูงขึ้นใน วงการอุตสาหกรรม แต่เนือ่ งจากขนาดที่เล็กมากจึง ยากจะท�ำการหล่อแบบปกติได้ โดยท่านประธาน โทดะได้ให้ความเห็นไว้ว่า “มีแต่ของที่เล็กมาก เล็ก ขนาดที่ว่าแค่จามก็แทบจะปลิวหายไปหมดเลยที เดียว” ในตอนนั้นท่านประธานได้รับโอกาสให้เดิน ทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อชมเทคโนโลยี การฉีดขึ้นรูปโลหะผงพอดี นั่นเป็นครั้งแรกที่ท่านได้ พบกับเทคนิคใหม่ทเี่ พิง่ ถูกน�ำมาใช้ได้ไม่นาน นัน่ ก็คอื “Metal Injection” นั่นเอง แม้จะเป็นวิทยาการระดับทีเ่ รียกได้วา่ ปฏิวตั ิ วงการทั้งหมด แต่เนื่องจากติดปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ จึงไม่สามารถน�ำเข้ามาใช้ในญี่ปุ่นเฉยๆ ได้ ท่านจึง ตัดสินใจว่าจะท�ำการพัฒนาขึน้ เองภายในบริษทั จาก นั้นจึงน�ำไปจดสิทธิบัตรในปี 91 และเริ่มการผลิตใน ญีป่ นุ่ หัวใจส�ำคัญของกรรมวิธนี ี้ คือเทคนิคการผสม วัตถุดิบที่ประธานบริษัทรุ่นก่อนก็ยังไม่อาจท�ำให้ ส� ำ เร็ จ ได้ โดยน� ำ ผงโลหะผสมกั บ วั ส ดุ ป ระสาน (binder) ต่ า งๆ จนได้ ร ะดั บ ความแข็ ง และความ ทนทานเท่าที่ต้องการ ฟิลิปปินส์ ไทย และโคลอมเบีย ช่วงครึ่งหลังของยุค 90 หลังฟองสบู่แตก ทางบริษทั ได้เริม่ วางแผนขยายกิจการไปต่างประเทศ อย่างจริงจัง โดยในปี 95 ได้ขยายไปยังฟิลปิ ปินส์ แล้ว จึงมาลงทุนในไทยในปี 2002 เนื่องจากตลาดภายใน ญี่ ปุ ่ น ก� ำ ลั ง หดตั ว เล็ ก ลงเรื่ อ ยๆ เมื่ อ มองดู ส ถาน การณ์ ใ นระยะยาวแล้ ว ตลาดต่ า งประเทศเป็ น ทางออกที่เหมาะสมที่สุด ปัจจุบัน CASTEM มีบริษัท ลู ก อยู ่ ใ นทั้ ง สองประเทศ ประเทศละสองบริ ษั ท ซึ่งบริษัทเหล่านั้นต่างก็ท�ำการผลิตด้วยกรรมวิธี Lost-wax Casting และ Metal Injection เช่นเดียวกับ บริษัทแม่ ในตอนที่เริ่มขยายกิจการนัน้ บริษัทญี่ปุ่น ส่วนใหญ่ตอ้ งการทีจ่ ะไปลงทุนในจีนเสียมากกว่า แต่ หลังจากพิจารณาเรือ่ งความเสีย่ งจากกระแสต่อต้าน ญี่ปุ่นภายในจีนแล้ว ทาง CASTEM จึงตัดสินใจเลือก ฟิลิปปินส์และไทยแทน แม้จะเป็นโรงงานในต่างประเทศ แต่ก็ไม่ได้ ลดมาตรฐานเลยแม้แต่น้อย นั่นเป็นสิ่งที่ต้องยึดถือ ไว้เสมอ “บริษทั เรา จะเอาชนะคนอืน่ ได้ดว้ ยคุณภาพ และการส่ ง มอบงานภายในก� ำ หนดเวลา” ท่ า น ประธานโทดะกล่าว นับตัง้ แต่ตอนทีต่ ดั สินใจจะขยาย กิจการไปต่างประเทศ การดูแลมาตรฐานไม่ให้ตกลง นั้น นับเป็นหัวใจส�ำคัญที่สุดที่ต้องรักษาไว้ให้ได้ ปัจจุบนั CASTEM ก�ำลังก่อสร้างโรงงานใหม่ ที่ประเทศโคลอมเบีย ทวีปอเมริกาใต้ และมีบริษัท ลูกตัง้ อยู่ในเมืองฮิวสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา และ ก�ำลังวางแผนที่จะตีตลาดภายในอเมริกาในอนาคต โดยมีตลาดเครื่องมือการแพทย์ และอุปกรณ์เกี่ยว กับการบินและอวกาศเป็นเป้าหมายหลัก นอกจากการเป็นประธานบริษทั ผลิตชิน้ ส่วน แล้ว ท่านประธานโทดะยังมีอีกต�ำแหน่งที่ไม่เหมือน ใคร นั่นก็คือ “ประธานสมาคมเครื่องบินกระดาษ” สมัยเป็นนักเรียน ท่านเคยล้มป่วยจนต้องนอนอยูบ่ น เตียงติดกันหลายวัน ในช่วงนั้นท่านได้เริ่มออกแบบ เครื่องบินกระดาษถึงกว่า 400 แบบ ท�ำเอาคนที่มา เยี่ยมตกใจไปตามๆ กัน “ทั้งเครื่องบิน เครื่องร่อน และว่าว ก็ล้วนแต่เป็นสิ่งที่สามารถทะยานขึ้นบน อากาศและบินอยูไ่ ด้โดยไม่กอ่ ให้เกิดเสียงแม้แต่นอ้ ย เรียกได้ว่าเป็นการตกผลึกของเทคนิคทั้งหมดเลยที เดียว การท�ำกระดาษแผ่นเดียวให้กลายเป็นเครื่อง บินได้โดยใช้เพียงเทคนิคและฝีมอื ล้วนๆ เป็นกระบวน การที่ผมหลงใหลเป็นอย่างมาก” หลังเกิดวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ในปี 2008 บริษั ท CASTEM ก็ ไ ด้ รั บ ผล กระทบเช่ น กั น จน บรรยากาศตรึงเครียดแผ่ไปทั่วบริษัท ในตอนนัน้ เอง ท่านประธานซึ่งเชื่อมั่นว่า “การจะฝ่าทางตันไปได้ ต้องใช้พลังของเทคนิคและฝีมอื เท่านัน้ ” ได้สร้างแรง บันดาลใจให้กับทุกคน ด้วยการออกแบบเครื่องบิน กระดาษที่สามารถบินอยู่ได้นานที่สุดในโลก (29.2 วินาที โดยสถิตเิ ก่าอยูท่ ี่ 27.6 วินาที) ซึง่ เป็นการสร้าง สถิติใหม่จนได้รับการบันทึกในกินเนสบุ๊ค และจนถึง ตอนนี้ก็ยังไม่มผี ู้ใดท�ำลายสถิตไิ ด้เลย การท�ำเครื่องบินกระดาษนั้นเหมือนจะง่าย แต่ที่จริงแล้วต้องอาศัยความรู้ที่ล�้ำลึกและความ พยายามเป็นอย่างสูง ไม่ว่าจะเป็นการฝึกกล้ามเนื้อ เพือ่ ให้สามารถขว้างได้แรงทีส่ ดุ ถ้าขว้างได้แรงไม่เท่า คนอื่นก็ต้องออกแบบท่าขว้างให้เหนือกว่า รวมถึง ออกแบบส่ ว นที่ใ ช้ ส�ำ หรั บ จั บ ให้ มีข นาดไม่ เ กิน 5 มิลลิเมตรเท่านั้น “แค่รอยยับหรือจุดหักเหเล็กน้อย ก็สามารถยึดเกาะอากาศจนพาตัวเครือ่ งบินลอยขึน้ ไปได้ นีแ่ หละคือจุดสูงสุดของเทคนิคทัง้ หลายทัง้ ปวง” ความเอาใจใส่ตอ่ เทคนิคของท่านประธานโทดะ นีเ่ อง ที่เป็นหัวใจส�ำคัญอันน�ำไปสู่ความส�ำเร็จของบริษัท ในที่สุด CASTEM (THAILAND) CO., LTD. 968 Moo 5, Soi Soonthornwasu, Pheakasa Road, Tambol Pheakasa-mai, Amphur Muangsamutprakarn, Samutprakarn 10280 Tel. 02-324-3027-9 [email protected] CASTEM (SIAM) CO., LTD. Amata Nakorn Industrial Estate (Phase 4) 700/408 Moo 7, Tambol Donhuaroh, Amphur Muangchonburi,Chonburi 20000 Tel. 038-717-402-3
© Copyright 2024 ExpyDoc